วันพฤหัสบดีที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560

บทที่ 7 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

ประพจน์ 

     ประพจน์ (statement or proposition) คือประโยคที่บอกค่าความจริง (truth value) ได้ว่าเป็นจริง (true )หรือเท็จ (false) เพียงอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น โดยเท่าไปจะใช้อักษรภาษาอังกฤษแทนประพจน์

 ประโยคเหล่านี้อาจจะอยู่ในรูปประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธก็ได้ 
      
ประโยคต่อไปนี้เป็นประพจน์ 
จังหวัดชลบุรีอยู่ทางภาคตะวันออกของไทย 
2 + 3 = 6
ตัวอย่างต่อไปนี้ไม่เป็นประพจน์ 
x + 2 = 6
กินข้าวหรือยัง

ตัวเชื่อม (connective)

1. ตัวเชื่อมประพจน์  และ  ( conjunetion ) ใช้สัญลักษณ์แทน Ùและเขียนแทนด้วย Ù Qแต่ละประพจน์มีค่าความจริง(truth value) ได้ 2 อย่างเท่านั้น คือ จริง(True) หรือ เท็จ(False) ถ้าทั้ง และ Qเป็นจริงจะได้ว่า PÙเป็นจริง กรณีอื่นๆ Ù Q เป็นเท็จ เราให้นิยามค่าความจริงÙ Q 
โดยตารางแสดงค่าความจริง (truth table) ดั้งนี้


P
Q
Ù Q
T
T
F
F
T
F
T
F
T
F
F
F


ตัวอย่าง 5+1 = 6 Ù 2 น้อยกว่า (จริง) 
 5+1 = 6 Ù 2 มากกว่า (เท็จ)
5+1 = 1 Ù 2 น้อยกว่า (เท็จ)
 5+1 = 1 Ù 2 มากกว่า (เท็จ)

2. ตัวเชื่อมประพจน์  หรือ ” Disjunction ) ใช้สัญลักษณ์แทน V และเขียนแทนด้วย P V Q และเมื่อ P V Q
จะเป็นเท็จ ในกรณีที่ทั้ง P และ Q เป็นเท็จเท่านั้น กรณีอื่น P V Q เป็นจริง เรา 

ให้นิยามค่าความจริงของ P V Q
ตัวอย่างตารางค่าความจริง ดังนี้
P
Q
P V Q
T
T
F
F
T
F
T
F
T
T
T
F
ตัวอย่าง 5 + 1 = 6 V 2 น้อยกว่า (จริง)

              5 + 1 = 6 V 2 มากกว่า 3 (จริง)
              5 + 1 = 1V 2 น้อยกว่า (จริง)  
              5 + 1 = 1V 2 มากกว่า 3 (เท็จ)
3. ตัวเชื่อมประพจน์  ถ้า….แล้ว” Conditional) ใช้สัญลักษณ์แทน ® และเขียนแทนด้วยP®Q
นิยามค่าความจริงของ P®Q โดยแสดงตารางค่าความจริงดังนี้
P
Q
P®Q
T
T
F
F
T
F
T
F
T
F
T
T
ตัวอย่าง 1 < 2 ® 2 < (จริง) 1 < 2 ® 3 < 2 (เท็จ) 2 < 1 ® 2 < 3 (จริง) 
2 < 1 ® 3 < 2 (จริง)
4. ตัวเชื่อมประพจน์ ก็ต่อเมื่อ (Biconditional) ใช้สัญลักษณ์แทน « และเขียนแทนด้วย P«
นั้นคือ P«Q จะเป็นจริงก็ต่อเมือ ทั้ง และ เป็นจริงพร้อมกันหรือทั้ง และ เป็นเท็จพร้อมกันตารางแสดงค่าความจริงของ P«Q

P
Q
P«Q
T
T
F
F
T
F
T
F
T
F
F
T




ตัวอย่าง 1 < 2 « 2 < (จริง) 
1 < 2 « 3 < 2 (เท็จ) 
2 < 1 « 2 < 3 (จริง) 
2 < 1 « 3 < 2 (เท็จ)
5. นิเสธ (Negation) ใช้สัญลักษณ์แทน เขียนแทนนิเสธของ Pด้วย ~ถ้า เป็นประพจน์นิเสธของประพจน์ คือประพจน์ที่มีค่าความจริงตรงข้ามกัน P
ตารางแสดงค่าความจริงดั้งนี้

               P
~P
T
F
F
T
ตัวอย่าง ถ้า แทนประโยคว่า "วันนี้เป็นวัน เสาร์" นิเสธของ หรือ ~p คือประโยคที่ว่า "วันนี้ไม่เป็นวันเสาร์"

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น